Monday, October 28, 2013

ชาวฝรั่งเศส ฉลองเทศกาลอะไรบ้าง

ชาวฝรั่งเศส ฉลองเทศกาลอะไรบ้าง
Jour de l’an 1 มกราคม วันนักขัตฤกษ์ ตรงกับวันแรก ของปีตามตารางปฎิทินสากล ในประเทศฝรั่งเศส วันขึ้นปีใหม่ 10 มกราคมนี้เริ่มกำหนดใช้ในปี ค.ศ. 1564 และ วันที่ 31 ธันวาคมถือว่าเป็นการฉลองคืนส่งท้าย ปีเก่าเพื่อต้อนรับขึ้นวันปีใหม่ด้วย ในวันขึ้นปีใหม่นี้ ถือเป็นโอกาสที่จะให้ของขวัญ (เงิน) กับเด็ก ๆ Epiphanie เทศกาลของชาวคริสเตียน ในโบสถ์ละติน เป็นการฉลองการมาเยี่ยม พระเยซูของ Rois mages โดยธรรมเนียม มีการทานขนมหวาน เค้ก (รูปทรงมงกุฎในทางตอนใต้) หรือ กาแลตดูครัว (ทางเหนือของฝรั่งเศส) จัดขึ้นในวันอาทิตย์แรกของเดือนมกราคม Chandeleur 2 กุมภาพันธ์ วันทางศาสนาของชาวคริสเตียน แรกเริ่มมาจาก เทศกาลแสงไฟ ในปี ค.ศ. 472 เทศกาลนี้ได้กลายเป็นการเฉลิมฉลองการเป็นตัวแทนของ พระเยซูภายในโบสถ์ตามธรรมเนียมมีการทำขนมเครป แล้วโยนขึ้นกลับด้านโดยกำเงินไว้ในมือ อีกข้างเพื่อถือเป็นการนำโชคดีมาสู่ตัวผู้โยน Mardi-gras เทศกาลของชาวคาทอลิก เมื่อวันสิ้นสุด 7 วันหลังเทศกาลงานรื่นเริง (ซึ่งผ่านมื้ออาหารกันมาตลอดสัปดาห์) วันนี้กำหนดขึ้น 47 วันก่อนเทศกาลอีสเตอร์ และเป็นการ เริ่มต้นของกาเรม (เทศกาลถือศีลอด) สัญลักษณ์ของเทศกาลนี้คืองานกานาวาล (ซึ่งมีความหมายถึงการเอาเนิ้อออก หรือการเริ่มต้นการถือศีล) ตามธรรมเนียมต้องการให้ชาวบ้านแต่งตัวหลากหลายในวันนั้น (ในทุกวันนี้กลายเป็นเด็ก ๆ ) ในบางหมู่บ้านมีการเผาตุ๊กตากานาวาลในวันงานด้วย Mercredi des Cendres เทศกาลของชาวคาทอลิก เป็นสัญลักษณ์ของการเริ่มต้นเทศกาลถือศีลอด เป็นสัญลักษณ์ให้เตือนถึงการตาย อาทิตย์แรกของเทศกาลศีลอด (1er dimanche de Carême) ไม่มีกิจกรรมใด ๆ พิเศษ พฤหัสบดีกลางเทศกาลศีลอด (Jeudi de la Mi-cerême) เป็นสัญลักษณ์ครึ่งนึงของช่วง เทศกาลถือศีลอดที่มี 40 วัน(โดยไม่นับวันอาทิตย์) ตรงกับวันพฤหัสบดีของอาทิตย์ที่ 3 ของตลอดระยะเวลาเทศกาลถือศีล เป็นการพักของช่วงการถือศีล ในปัจจุบันนี้ไม่ค่อยฉลองกันนัก Dimanche des Rameaux รำลึกการเดินทางถึงนครเยรูซาเลมของพระเยซู และความรักของ พระเยซุคริสต์และการเสียชีวิตบนไม้กางเขน วันอาทิตย์อีสเตอร์ (Dimanche de Pâques) 3 วันหลังจากวันสิ้นชีพของพระเยซุ พระเยซูได้ ฟิ้นคืนชีพ เทศกาลอีสเตอร์เป็นวันสำคัญที่สุดของปฎิทินชาวคริสต์ เป็นสัญลักษณ์ของวันสิ้นสุด ของเทศกาลถือศีลอด วันอีสเตอร์สอดคล้องกับวันอาทิตย์แรกต่อจากวันพระจันทร์เต็มดวงในฤดูใบไม้ผลิ ชาวคริสต์ต้องหยุดงานเพือ่ไปสวดมิซซา ในวันนี้พระสันตปะปาจะประทานพรในฝรั่งเศสตามธรรมเนียมทำการมอบไข่ (ชอกโกแลต) หรือของประดับธรรมเนียมอิ่น ๆเกี่ยวกับอาหาร : ทานแกะ Lundi de Pâque ในยุคกลางตลอดสัปดาห์หลังเทศการอีสเตอร์เป็นสัปดาห์นักขัตฤกษ์ ในปัจจุบันเหลือลงเพียงวันจันทร์ และไม่ใช่งานฉลองที่เคยทำอย่างสม่ำเสมอ ในกรณีของฝรั่งเศสไม่มีการฉลองเป็นพิเศษ Annonciation 25 มีนาคม ตามศาสนาคริสต์ เทวดากาเบรียล นำสารมาบอกมารีถึงการตั้งครรภ์พระเยซู 9 เดือนก่อนวันคริสต์มาสถือได้ว่าเป็นวันจุติของพระเยซู Souvenir déportés เป็นวันระลึกถึง 150000 ฝรั่งเศสที่ถูกนำตัวไปเข้าค่ายกักกันของนาซี ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 วันรำลึกนี้จัดอยู่ในอาทิตย์สุดท้ายของเดือนเมษายนวันรำลึกนี้จัดอยู่ในอาทิตย์สุดท้ายของเดือนเมษายน Fête du travail 1 พฤาภาคม เป็นธรรมเนียมของผู้ใช้แรงงานในการต่อสู้ที่มีอยู่ทั่วโลก ในประเทศส่วนใหญ่จัดเป็นวันหยุดประจำปี ประเทศฝรั่งเศสเริ่มต้นในปี 1919 และในปี 1947 เป็นวันหยุดเต็มวันโดยได้รับค่าแรงด้วย ในวันนี้สหภาพแรงงานต่าง ๆ จะเดินขบวนกันตามเมืองต่าง ๆ ของประเทศ และมีการมอบช่อดอกมูเก้ด้วย Jeudi de l’Ascension เป็นการฉลอง 39 วันหลังจากเทศกาลอีสเตอร์ หลังจากลงมาเผยแพร่คำสอน พระเยซุก็ได้เสด็จกลับขึ้นสวรรค์ Victoire 1945 ชัยชนะทีมีต่อเยอรมันในยุคการครอบครองโดยทหารนาซี สันติภาพได้กลับคืนสู่ทวีปยุโรป โดยสัญญาสงบศึกที่ทำขึ้นในวันที 8 พฤษภาคม 1945 เวลาประมาณเที่ยงคืน โดยมีนายพลโซเวียต Jpukov ฝ่ายนาซี Keitel ผู้แทนจากสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และนายพล de Lattre ของฝรั่งเศส เป็นวันนักขัตฤกษ์ตั้งแต่ปี 1953 แต่ได้ถูกยกเลิกไปในสมัย V.Giscard d’Estaing และได้กลับมากำหนดใหม่ในยุคของ F.Mitterrand 1 มิถุนายน 1981 Dimanche de Pentecôte เป็นวันเทศกาลของชาวคริสต์ กำหนดขึ้น7 อาทิตย์หลังเทศกาลอีสเตอร์ เพื่อรำลึกถึงวิญญาณศักด์สิทธิ์ที่ลงมาจาก... Trinité วันเทศกาลของชาวคริสต์ อาทิตย์ที่ 8 หลังจากเทศกาลอีสเตอร์ ปัจจุบันไม่ค่อยมีการเฉลิมฉลองมากนัก ในศาสนาคริสต์ ทรินิเต้เป็นการกล่าวถึงพระเจ้าใน 3 บุคคล พระบิดา บุตร และพระจิต Fête Dieu ฉลองในวันพฤหัสบดีถัดจากวันทรินิเต้ (หรืออาจวันอาทิตย์ขึ้นอยู่กับทางปฎิบัติ) ฉลองถึงความเสียสละของพระคริสต์ โดยมีการแบ่งขนมปัง Fête des mèresกำหนดเป็นทางการในปี 1928 กำหนดไว้ในวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนพฤษภาคม (หรือกรณีพิเศษเลื่อ่นไปในเดือนมิถุนายนหากชนกับปงโดโค๊ต) ในปัจจุบัน กลายเป็นการค้าและเป็นวันที่ชื่นชอบของเด็ก ๆ Fête des pères เช่นเดียวกับวันแม่ แต่มีกำหนดขึ้นเป็นทางการในปี 1952 Fête Nationale รำลึกถึงวันแห่งการปฎิวัติของฝรั่งเศส 1789 โดยเฉพาะการทำลายคุกบาสตีล ในวันที่ 14 กรกฎาคม 1978 คุกบาสตีลเป็นคุกสำคัญของปารีส และเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจกษัตริย์ ในวันที่ 14 กรกฎาคม 1789 ชาวกรุงปารีสได้ทำการเผาและเข้ายึดคุก การเข้ายึดคุกบาสตีลนี้กลายเป็นสัญลักษณ์ของการก่อตั้งสาธารณรัฐฝรั่งเศส Assomption 15 สิงหาคม วันทางศาสนาของชาวคาทอลิกที่ทำการฉลองในการที่พระแม่มารีขึ้นสู่สรวงสวรรค์ เป็นวันสำคัญกลางฤดูร้อนมีการ........ Croix glorieuse 14 กันยายน กำหนดโดยจักรพรรคดิ์กองสตองแตง ในปี ค.ศ. 335 ในปัจจุบันมีการฉลองในวันนี้ไม่มากนัก Toussaint 1 พฤศจิกายน วันทางศาสนาของชาวคาทอลิก ในการเฉลิมฉลองให้กับทุกนักบุญโดยโบสถ์โรมัน ในวันนี้ได้กลายเป็นวันเยี่ยมหลุมฝังศพ เพือ่วางดอกไม้กับผู้เสียชีวิตไปแล้ว และดอกคริสซองแตม Défunts 2 พฤศจิกายน ในฝรั่งเศสรวมกันกับวันหยุดตุสแซง วันสิ้นสุดสงคราวโลกครั้งที่ 1 (Armistice 1918) 11 พฤศจิกายน 1918 รำลึกถึงการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยมีการเซ็นสัญญายุติสงครามมที่ Rethondes ป่า Compiège (Oise) Christ Roi วันทางศาสนาของชาวคาทอลิกอาทิตย์สุดท้ายของปี 5 อาทิตย์ก่อนคริสต์มาส Avent ช่วงเวลาหลังจากคริสต์มาส ระหว่าง 3-4 สัปดาห์ คริสต์มาส (Noël) เป็นเทศกาลการเกิดของพระเยซูคริสต์ มีการกำหนดขึ้นในปี ค.ศ. 354 โดยสันตปะปา Libère มีการประดับตกแต่งในวันที่ 24 ธันวาคมตอนเย็น ด้วยต้นสน คอกเด็ก ของขวัญ และทานอาหรระหว่างครอบครัว เทศกาลนี้ยังกลายเป็นสัญสักษณ์การทำค้าขาย อย่างมหาศาล Saint famille ต่อจากคริสต์มาส (อาทิตย์หรือศุกร์ถัดไปหากวันคริสต์มาส ตรงกับวันอาทิตย์)เป็นการสร้างครอบครัวโดยเยซูและมีบุพการีคือ มารีและโยเซพ Les Fêtes des français Le 31 décembre, c'est la St. Sylvestre et le 1er janvier, c'est le jour de l'An. On se réunit en famille ou entre amis autour d'un repas de fête qui varie selon les régions. À minuit exactement, on s'embrasse en s'adressant des voeux, « sous le gui», plante que l'on trouve sur certains arbres, que l'on accroche au-dessus des portes ou à l'intérieur des maisons pour le nouvel an et qui porte bonheur. Le 6 janvier, c'est l'Épiphanie ou fête des rois. Chez le pâtissier, on achète des galettes qui contiennent un petit objet appelé fève. La plus jeune de la famille, les yeux bandés, donne les parts de galettes : « Pour tante Jeanne, pour papa, pour monsieur Despoyes...» Chacun mange en essayant de ne pas avaler la fève. Celui qui la trouve est couronné roi (ou reine), choisit sa reine (ou son roi) et la famille ou les amis lèvent leur verre en disant : « Le roi boit, la reine boit.» Le 2 février, c'est la chandeleur, fête religieuse et aussi fête gourmande. Ce jour-là, dans toutes les familles on fait des crêpes. Fines, fines et dorées comme des soleils, elles volent, suivies par les regards admiratifs des enfants. Si elles pouvaient tomber directement dans la bouche ! Faites sauter des crêpes avec une pièce de monnaie dans la main, et vous serez riche toute l'année... Le 8 février, c'est le Mardi Gras, le dernier jour du carnaval précédant le carême (période de jeûne pour les catholiques pratiquants). Les enfants, et parfos les adultes, se déguisent. On mange des petits gâteaux qui selons les régions, s'appellent merveilles, oreillettes ou bugnes. Le 14 février, c'est la St. Valentin, fête des amoureux depuis le XVe siècle. Aujourd'hui, on célèbre cette fête en envoyant une carte, ou en offrant un cadeau à celle ou celui que l'on aime. Un dimanche en mars ou en avril, c'est Pâques, la plus grande fête chrétienne qui commémore la résurrection du Christ. Les enfants cherchent, dans les jardins ou dans les appartements, des oeufs, des poules, des lapins, des poissons en chocolat que les cloches, qui viennent de Rome, déposent en survolant le ciel de France. Le 1er avril, c'est le jour des farces. Tout est permis ou presque ! Les enfants et même les adultes inventent des farces. - Papa, ton directeur a téléphoné. Il voudrait que tu l'appelles. - Allô, Monsieur le directeur... - Poisson d'avril ! poisson d'avril ! - Tu as vu, Durand, on va augmenter les impôts de 20 %. - De 20 % ! Ce n'est pas possible. - Poisson d'avril ! poisson d'avril ! - Annie, tu as une grosse tache dans le dos de ta robe. - Oh ! mon Dieu, je ne peux pas aller danser comme ça; je rentre à la maison. - Poisson d'avril ! poisson d'avril ! Le 1er mai, c'est la fête du travail et du muguet. Les rues de Paris et même le métro sentent bon, tellement il y a de petits marchands de muguet. On en achète pour soi, on en offre, on en met un brin sur sa veste, sur sa blouse. C'est le printemps, il fait beau, on se promène, on va pique-niquer à la campagne, pêcher, jouer aux boules. Demain, déjà, il faudra reprendre le chemin de l'usine, du bureau, du lycée... Le 21 juin, c'est le jour le plus long de l'année et c'est la fête de la musique. À l'occasion de cette fête, il y a des manifestations spontanées ou organisées autour de la danse et de la musique, dans les villes et les villages. Le 14 juillet, c'est la fête nationale. La veille, dans toutes les villes de France, on tire de beaux feux d'artifice et on danse dans les rues, même à Paris. Le lendemain matin, on applaudit le défilé militaire. Les grandes vacances commencent. La grande fête des vacances dure du 1er au 31 août. Malgré les efforts du gouvernement, presque tous les Français prennent leurs vacances en même temps. Beaucoup d'usines ferment, une grande quantité de magasins en font autant. Madame et les enfants sont à la mer. Monsieur est retenu en ville par son travail. Chez lui, tout seul, il découvre les plaisirs de la cuisine, du ménage, du lavage, du repassage. il fait des kilomètres pour trouver une boulangerie ou une blanchisserie ouverte. Mais ô merveille, il peut garer sa voiture partout, et il apprend les langues étrangères, car sauf les autres malheureux, ses frères, il n'y a plus en ville que des touristes étrangers qui s'étonnent de trouver places et avenues désertes. Pendant ce temps, sur les plages, on se disputent le moindre centimètre carré... Le 1er novembre, c'est la Toussaint, le jour des morts. Dans les cimetières, les tombes sont fleuries de chrysthèmes. Malgré la tristesse générale, les écoliers sont heureux d'avoir les premiers jours de congé de l'année. Le 25 novembre, c'est la Saint-Catherine, une fête bien parisienne. Les jeunes filles qui ont vingt-cinq ans et ne sont pas encore mariées « coiffent la Sainte-Catherine ». Ces catherinettes mettent des fleurs devant la statue de leur sainte qui se trouve dans la rue du même nom. Pour cette journée, elles ont fabriqué de merveilleux bonnets jaune et vert, plus originaux les uns que les autres. Dans les grandes maisons de couture surtout, on danse, on boit du champagne. La catherinette est la reine de la journée. Le 25 décembre, « tant l'on crie Noël qu'à la fin il vient ». C'est la fête des fêtes, la lumière de l'hiver, le plaisir de tous. Les étoiles, la neige, les sapins, les cadeaux, les cloches composent le tableau. Toute la famille se réunit devant le réveillon. On mange traditionnellement de la dinde et un gâteau appelé bûche de Noël. Les enfants nettoient les cheminées, cherchent leurs plus grandes chaussures, Le Père Noël prend la route... จากหนังสือ LA FRANCE EN DIRECT เล่ม 2 : Janine CAPELLE & Guy CAPELLE [สำนักพิมพ์ HACHETTE] และ LA FRANCE AU QUOTIDIEN : Roselyne ROESCH & Rosalba ROLL-HAROLD [สำนักพิมพ์ PUG] คำศัพท์ [lexique] : - varier (v.) = แตกต่าง, หลากหลาย - selon (prép) = ตาม, สอดคล้องกับ - (s') adresser = พูด, กล่าว, แสดง, ส่ง - voeu(x) (n.m.) = คำอวยพร, ความปรารถนา - gui (n.m.) = เถาวัลย์ไม้ชนิดหนึ่ง - accrocher (v.) = แขวนไว้, เกี่ยวไว้กับ - porter bonheur (v.) = นำความสุขหรือโชคมาให้ - galette (n.f.) = ขนมชนิดหนึ่ง นิยมรับประทานกันในเทศกาล fête des rois - contenir (v.) = ประกอบไปด้วย, บรรจุ - fève (n.f.) = เมล็ดถั่ว - bander (v.) = ปิด, คาดด้วยแถบผ้า... - avaler (v.) = กลืน - couronner (v.) = สวมมงกุฎ - fin / fine (adj.) = บาง, ละเอียด, ประณีต - doré (adj.) = ที่เป็นสีทอง - regard (n.m.) = สายตา, การมอง - admiratif / admirative (adj.) = ที่ชื่นชม / admirer (v.) = ชื่นชม, ชื่นชอบ - sauter (v.) = กระโดด, โยนให้ลอยขึ้นไป - carnaval (n.m) = งานคาร์นาวัล - précéder (v.) = นำ, นำหน้ามา - carême (n.m.) = การถือศิลอด - jeûne n.m) = การงดอาหาร - pratiquant (adj. et n.) = บุคคลที่เคร่ง, ที่ฝึกปฎิบัติ - se déguiser (v.) = แปลงโฉม, แปลงร่าง, อำพรางกาย - amoureux (adj. et n.) = ที่มีความรัก, คนที่มีความรัก - comémorer (v.) = ระลึกถีง - résurrection (n.f.) = การฟื้นคืนชีพ - déposer (v.) = วางไว้, ปล่อยไว้ - survoler (v.) = บินเหนือ - farce (n.f.) = เรื่องตลก, เรื่องหยอกล้อ [= blague] - impôt (n.m.) = ภาษีรายได้ - tache (n.f.) = รอยเปื้อน - Poisson d'avril ! poisson d'avril ! [ใช้พูดเมื่อเราอำหรือหรอกใครได้เป็นผลสำเร็จ = April Fool !] - muguet (n.m.) = ดอกไม้ชนิดหนึ่งมีสีขาวและกลิ่นหอม มีลักษณะเป็นรูปทรงกระดิ่งเล็ก - tellement (adv.) = มาก, มากเหลือเกิน - sentir bon (mauvais) = มีกลิ่นหอม (เหม็น) - brin (n.m.) = กิ่งเล็กๆ - jouer aux boules = เล่นกีฬาเปตอง (=faire une partie de pétanque) - reprendre le chemin de ... = กลับ (มาทำงาน, มาโรงเรียน ...) - manifestation (n.f.) = การแสดงออก - spontané (adj.) = (ในที่นี้ = การแสดง) สด, ปัจจุบันทันด่วน - organisé (adj.) = (ในที่นี้ = การแสดง) ที่จัดหรือเตรียมการ - autour (prép.) = รอบๆ, (ในที่นี้ = เกี่ยวกับ) - veille (n.f.) = วันก่อนหน้า(วันงานหรือเทศกาล) - feu(x) d'artifice (n.m) = พลุ, ดอกไม้ไฟ - lendemain (n.m.) = วันรุ่งขึ้น (วันหลังจากงานหรือเทศกาล) - applaudir (v.) = ปรบมือ - défilé (n.m.) = การเดินแถว, การเดินโชว์ / un défilé militaire = การเดินสวนสนามของทหาร / un défilé de mode = การเดินแฟชั่น - malgré (prép.) = ทั้งๆที่, ถึงแม้ว่า - effort (n.m.) = ความพยายาม - être retenu (v. au passif) = ถูกรั้งไว้, ติดธุระ, ไม่ว่าง - lavage (n.m.) = การซักล้าง / laver (v.) = ซัก, ล้าง - repassage (n.m.) = การรีดผ้า / repasser le linge (v.) = รีดผ้า - merveille (n.f.) = ความมหัศจรรย์, สิ่งมหัศจรรย์ / merveilleux / merveilleuse (adj.) = มหัศจรรย์ - (se) garer (v.) = จอดรถ... - sauf (prép.) = ยกเว้น, นอกจาก - (s') étonner (v.) = ทำให้ประหลาดใจ, รู้สึกประหลาดใจ - place (n.f.) = (ในที่นี้)จตุรัส, ที่ว่าง, ที่นั่ง, สถานะ - désert / déserte (adj.) = ที่ไร้ผู้คน, ที่ว่างเปล่า - moindre (adj.) = (ขั้นสูงสุดของ petit) เล็ก, น้อยที่สุด - carré (adj. et n.m.) = (สี่เหลียมจตุรัส) ตาราง (เมตร, กิโลเมตร..) - mort (adj.) = ที่ตายแล้ว / un mort (n.m.) = คนที่ตาย / la mort (n.f.) = ความตาย - cimetière (n.m.) = สุสาน, ที่ฝังศพ - fleurir (n.f.) = ประดับด้วยดอกไม้, ผลิดอก, ออกดอก - congé (n.m.) = วันหยุด - coiffer (v.) = ทำผม / coiffe (n.f.) = เครื่องประดับผม / coiffure (n.f.) = ทรงผม / coiffeur / coiffeuse (n.) = ช่างทำผม - saint(e) (n.) = นักบุญ - fabriquer (v.) = ผลิต, ทำขึ้น - bonnet (n.m.) = หมวก - original (adj.) = แปลก, ประหลาด - maison de couture (n.f.) = ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า - catherinette (n.f.) = สาวๆที่ชื่อคาทรีน (สาวน้อยคาทรีน) - tant (adv.) = มาก, มากเหลือเกิน - lumière (n.f.) = แสง - sapin (n.m.) = ต้นสน / sapin de Noël = ต้นคริสต์มาส - cloche (n.f.) = กระดิ่ง, ระฆัง - composer (v.) = ประกอบขึ้นเป็น, ทำขึ้น - réveillon (n.f.) = อาหารมื้อพิเศษ ที่รับประทานกันในวันคริสต์มาส และ วันขึ้นปีใหม่ - bûche de Noël (n.f.) = ขนมเค๊กรูปฟืนไม้ ที่รับประทานกัน ในวันคริสต์มาส - dinde (n.f.) = / dindon (n.m.) = ไก่งวง - cheminée (n.f.) = (ในที่นี้)เตาผิง, ปล่องไฟ - prendre la route (v.) = ออกเดินทาง